ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. สลิลาทิพย์ ทิพยไกรศร
คณบดีคณะการจัดการโลจิสติกส์และการคมนาคมขนส่ง
คณะการจัดการโลจิสติกส์และการคมนาคมขนส่ง
สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์
อีเมล: salilathipthi@pim.ac.th
โทรศัพท์: 0-2855-0462
มือถือ: 06-5447-8956
การศึกษา
ปริญญาเอก คณะบริหารธุรกิจ (โลจิสติกส์และซัพพลายเชน)
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ปริญญาโท (นักศึกษาทุน / เกียรตินิยมเหรียญทอง)
คณะบริหารธุรกิจ (สาขาการตลาด) มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
ปริญญาตรี (นักศึกษาทุน และนักศึกษาในโครงการ
เรียนดี) คณะมนุษยศาสตร์ (สื่อสารมวลชน) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
รายวิชาที่สอน
การจัดการโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทาน
การจัดการการตลาดสำหรับโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
การบริหารการตลาดสำหรับธุรกิจบริการ
การจัดการธุรกิจค้าปลีก
การจัดการความเสี่ยง
งานวิจัยที่สนใจ
การจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
การบริหารการตลาดสำหรับการพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
การจัดการความเสี่ยง
ผลงานตีพิมพ์
ผลงานวิจัย
งานวิจัย เรื่อง “ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดการความเสี่ยงในอุตสาหกรรมค้า ปลีก”
งานวิจัย เรื่อง “โมเดลการจัดการความเสี่ยงของห่วงโซ่อุปทาน กรณีศึกษาอุตสาหกรรมอาหารในประเทศไทย”
งานวิจัยเรื่อง “ผลกระทบของความสามารถและความอ่อนแอของห่วงโซ่อุปทานที่มีผลต่อความยืดหยุ่นในห่วงโซ่อุปทานและส่งผลต่อความได้เปรียบทางการแข่งขัน”
งานวิจัย เรื่อง “การศึกษากฎหมายที่เป็นอุปสรรคต่อการเพิ่มขีดความสามารถในการประกอบธุรกิจ” ให้กับ สำนักงาน ก.พ.ร.
งานวิจัย เรื่อง “การประเมินผลความพึงพอใจในการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในงานด้านโลจิสติกส์”
งานวิจัย เรื่อง “ผลกระทบของการให้ความสำคัญในการบริหารจัดการโลจิสติกส์และผลการดำเนินงานด้านโลจิสติกส์ ภายใต้ภาวะวิกฤตอุทกภัยในประเทศไทย”
วารสารวิชาการ
งานวิจัย เรื่อง ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างการบริหารประสบการณ์ของลูกค้า ความพึงพอใจของลูกค้า ความจงรักภักดี และการบอกต่อ ในธุรกิจค้าปลีกออนไลน์. (วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย, 10(1), 198-213)
งานวิจัย เรื่อง รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างสมรรถนะการดูดซึมความรู้ในห่วงโซ่อุปทาน ความคล่องตัวของห่วงโซ่อุปทาน และผลการดำเนินงานของธุรกิจอาหารสำเร็จรูปในประเทศไทย (วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น ปีที่ 15 ฉบับที่ 2)
งานวิจัย เรื่อง ความสัมพันธ์ของการบริหารประสบการณ์ของลูกค้าที่ส่งผลต่อการบอกต่อความจงรักภักดี และความพึงพอใจของลูกค้า ในธุรกิจค้าปลีกออนไลน์ (วารสารวิชาการบริหารธุรกิจ สมาคมสถาบันอุดมศึกษาเอกชนแห่งประเทศไทย, 10(1), 198-213)
เส้นทางของผู้บริโภคในยุคดิจิทัล โจทย์ใหม่ทางการตลาด(วารสารปัญญาภิวัฒน์, ปีที่ 10 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม – สิงหาคม 2561), สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ (294-302))
งานวิจัย เรื่อง “โมเดลการจัดการความเสี่ยงของห่วงโซ่อุปทาน กรณีศึกษาอุตสาหกรรมอาหารในประเทศไทย”
บทความวิจัยเรื่อง “ผลกระทบของความสามารถและความอ่อนแอของห่วงโซ่อุปทานที่มีผลต่อความยืดหยุ่นในห่วงโซ่อุปทานและส่งผลต่อความได้เปรียบทางการแข่งขัน” (วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม – สิงหาคม 2560)
บทความวิชาการ เรื่อง “การบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ…ทางรอดของธุรกิจในภาวะวิกฤต (วารสารปัญญาภิวัฒน์ ปีที่ 4 ฉบับที่1 ประจำเดือนกรกฎาคม – ธันวาคม 2555)
บทความวิชาการ เรื่อง “การเพิ่มศักยภาพธุรกิจบริการ ด้วยช่องทางการจัดจำหน่าย” (วารสารนักบริหาร,ปีที่ 31, ฉบับที่ 1,หน้าที่ 236 – 247, ปีพิมพ์ 2554,สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยกรุงเทพ)
บทความวิชาการ เรื่อง “ปรับกลยุทธ์…รับการเติบโตในธุรกิจค้าปลีก” (วารสารนักบริหาร,ปีที่ 29, ฉบับที่ 4,หน้าที่ 72-76, ปีพิมพ์ 2554,สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยกรุงเทพ)
บทความวิชาการ เรื่อง “ประเทศไทย…เริ่มต้น พัฒนาระบบขนส่งมวลชนอย่างไร” (วารสารนักบริหาร,ปีที่31, ฉบับที่ 4,หน้าที่ 55-58, ปีพิมพ์ 2554,สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยกรุงเทพ)
บทความวิจัย เรื่อง “ความเห็นของผู้ขับขี่รถยนต์ที่ใช้ก๊าซธรรมชาติ NGV ที่มีต่อส่วนประสมทางการตลาดกรณีศึกษาผู้ขับขี่รถยนต์ในเขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร” (2554)
บทความวิจัย เรื่อง “ปัจจัยทางการตลาดที่มีผลต่อการเลือกใช้บริการเสริมสำหรับโทรศัพท์เคลื่อนที่ ของผู้บริโภค ในเขตกรุงเทพมหานคร” (2554)
บทความวิชาการ เรื่อง “อนาคตระบบขนส่งไทย “ฝันที่เป็นจริง หรือความหวังอันเลื่อนลอย” (วารสารนักบริหาร. ปีที่ 31 ฉบับที่ 3 ( ก.ค.-ก.ย. 2554 ) หน้า 99-104)
บทความวิจัย เรื่อง “กลยุทธ์ด้านการบริการและการส่งเสริมการขายมีผลต่อความพึงพอใจในการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร”
บทความวิชาการ เรื่อง “โลจิสติกส์กับการพัฒนาขีดความสามารถทางการแข่งขันของผู้ประกอบการไทย” โดยตีพิมพ์ใน วารสารนักบริหาร (ประจำเดือนเมษายน-มิถุนายน 2553
ประชุมวิชาการ
บทความวิจัย เรื่อง “ผลกระทบของการให้ความสำคัญในการบริหารจัดการ โลจิสติกส์และผลการดำเนินงานด้านโลจิสติกส์ ภายใต้ภาวะวิกฤตอุทกภัยในประเทศไทย” (การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 51 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2556)